เภสัชกรเชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ หัวหน้ากลุ่มสื่อสารความเสี ่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที ่ 9 พิษณุโลก กรมควบคุมโรค เผยว่า โรคที่มีความเสี่ยงการเกิดโ รคสูงที่สุดขณะน้ำท่วมและหล ังน้ำลด คือ โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และปัญหาด้านสุขอนามัยสิ่งแ วดล้อมจากของเสียต่าง ๆ ดังนั้นชุมชนและประชาชนควรม ีความรู้ในการป้องกันโรคอย่ างถูกวิธี มิฉะนั้นจะส่งผลต่อการเกิดโ รคระบาดต่าง ๆ ตามมาได้ง่าย
สาเหตุสำคัญมาจาก โรคอาหารเป็นพิษ ที่เป็นโรคติดต่อทางอาหารแล ะน้ำที่พบได้บ่อย เกิดจากการรับประทานอาหารที ่ปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าไป ซึ่งมักพบในอาหารที่ปรุงสุก ๆ ดิบๆ จากเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนเช ื้อ เช่น เนื้อไก่ เนื้อหมู เนื้อวัว และไข่เป็ด ไข่ไก่ รวมทั้งอาหารกระป๋อง อาหารทะเล และน้ำนมที่ยังไม่ได้ผ่านกา รฆ่าเชื้อ นอกจากนี้อาจพบในอาหารที่ทำ ไว้ล่วงหน้านาน ๆ แล้วไม่ได้แช่เย็นไว้ หรือไม่ได้อุ่นให้ร้อนเพียง พอก่อนรับประทาน รวมทั้งอาหารกล่องปรุงสำเร็ จที่มีผู้บริจาคให้ประชาชนท ี่ประสบอุทกภัย สาเหตุของอาหารเป็นพิษมีมาก มาย และอาการของอาหารเป็นพิษก็ม ีหลากหลายตามไปด้วย อาจแบ่งชนิดของอาหารเป็นพิษ ได้หลายแบบ เช่น ตามชนิดของเชื้อ ตามสารพิษหรือพิษในอาหาร หรือตามอาการเจ็บป่วย
ส่วนใหญ่แล้วภาวะอาหารเป็นพ ิษมักจะไม่มีอาการรุนแรง และอาการจะเป็นไม่นาน ผู้ป่วยอาจมีเพียงอาการท้อง เสียเพียงแค่สองสามวัน อาจมีไข้ต่ำๆ หรือบางคนไม่มีไข้เลยก็ได้ อาจเพียงรู้สึกปวดมวนท้องบ้ างเล็กน้อย หากเชื้อติดเชื้อบางชนิดทำใ ห้เกิดการอักเสบที่กระเพาะอ าหารและลำไส้ ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง ซึ่งถ้าถ่ายมากจะเกิดอาการข าดน้ำและเกลือแร่ได้ และบางรายอาจมีอาการรุนแรง เกิดการอักเสบที่อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น ข้อและกระดูก ถุงน้ำดี กล้ามเนื้อหัวใจ ปอด ไต เยื่อหุ้มสมอง และเมื่อเชื้อเข้าสู่กระแสโ ลหิตจะทำให้เกิดโลหิตเป็นพิ ษ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีภูมิต้าน ทานลดน้อย เช่น เด็กทารก เด็กเล็ก และผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ โรคเบาหวาน หรือโรคเอดส์ หากภาวะอาหารเป็นพิษนี้เกิด ขึ้นการติดเชื้อจะรุนแรงและ ทำให้ถึงกับเสียชีวิตได้
ผู้ที่มีอาการถ่ายเหลวเป็นเ นื้อปนน้ำไม่จำเป็นรักษาด้ว ยยาฆ่าเชื้อทันที แต่หากมีอาการถ่ายเหลวตั้งแ ต่ 3 ครั้งขึ้นไป หรือมีถ่ายเป็นน้ำ 1 ครั้งขึ้นไปใน 1 วัน ให้ดื่มสารละลายเกลือแร่ โอ อาร์ เอส จะช่วยป้องกันและรักษาภาวะข าดน้ำ แต่เมื่อถ่ายอุจจาระเป็นมูก เลือด จึงจะต้องรีบไปพบแพทย์ทันที โรคอาหารเป็นพิษ เป็นโรคที่ประชาชนสามารถป้อ งกันได้ ด้วยการกันดูแลสุขอนามัยในก ารรับประทานอาหาร การเก็บอาหาร และการปรุงอาหาร รวมทั้งล้างมือหลังเข้าห้อง น้ำทุกครั้ง
จึงขอแนะนำง่าย ๆ 10 ประการ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการป้ องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรค อุจจาระร่วงและอาหารเป็นพิษ ช่วงเกิดน้ำท่วมคือ คือ
1) เลือกอาหารที่ผ่านกระบวนการ ผลิตอย่างปลอดภัย เช่น นมที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ ไรซ์ ผักผลไม้ควรล้างด้วยน้ำปริม าณมากๆ ให้สะอาดทั่วถึง
2) ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึงก่อน รับประทาน
3) รับประทานอาหารที่ปรุงสุกให ม่ๆ
4) หากมีความจำเป็นต้องเก็บอาห ารที่ปรุงสุกไว้นานกว่า 4-5 ชั่วโมง ควรเก็บไว้ในตู้เย็นส่วนอาห ารสำหรับทารกนั้นไม่ควรเก็บ ไว้ข้ามมื้อ
5) ก่อนที่จะนำอาหารมารับประทา นทุกครั้งควรอุ่นให้ร้อนก่อ น
6) ไม่นำอาหารที่ปรุงสุกแล้วมา ปนกับอาหารดิบอีกเพราะอาหาร ที่สุกอาจปนเปื้อนเชื้อโรคไ ด้
7) ล้างมือให้สะอาด ไม่ว่าจะเป็นก่อนการปรุงอาห าร ก่อนรับประทาน และโดยเฉพาะหลังการเข้าห้อง น้ำ
8) ดูแลความสะอาดของพื้นที่สำห รับเตรียมอาหาร ล้างทำความสะอาดหลังการใช้ท ุกครั้ง
9) เก็บอาหารให้ปลอดภัยจากแมลง หนู หรือสัตว์อื่นๆ
10) ใช้น้ำสะอาดในการปรุงอาหาร และควรระวังเป็นพิเศษในการใ ช้น้ำสะอาดเพื่อเตรียมอาหาร ให้เด็กทารก
เภสัชกรเชิดเกียรติ กล่าวทิ้งท้ายว่าขอให้ประชา ชนทุกคนระมัดระวังตนเอง ลูกหลาน และครอบครัว จากโรคอาหารเป็นพิษ ท่านก็จะปลอดภัยจากการเจ็บป ่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงได้ แต่หากมีอาการเจ็บป่วยผิดปก ติต้องรีบไปทำการตรวจรักษาท ี่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ ้านทันที หรือหากพบผู้ป่วยอุจาระร่วง ที่มีอาการรุนแรง หรือมีจำนวนหลายคนควรแจ้งอา สามาสมัครสาธารณสุข (อสม.) หรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุขใก ล้เคียงที่สุดทราบเพื่อควบค ุมไม่ให้โรคแพร่กระจาย หากมีข้อสงสัยติดต่อได้ที่ศ ูนย์บริการข้อมูลฮอตไลน์ โทรศัพท์ 1422
ข้อความหลัก " กินอาหารร้อน สุก สะอาด ปราศจากพิษ ล้างมือเป็นนิจ ป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ ชีวิตปลอดภัย ”
ดู Clip VDO คำแนะนำการทำน้ำเกลือแร่จาก ของในบ้าน ที่http://www.youtube.com/ watch?v=CVhkYd-BDTE
เฉพาะกิจเกาะติดการสื่อสารค วามเสี่ยงเพื่อป้องกันควบคุ มโรคจากภาวะน้ำท่วม ปี 2556 เขตภาคเหนือตอนล่าง ที่ http:// dpc9.ddc.moph.go.th/crd/ special/flood56.html
ฟังเพลงรณรงค์โรคจากฤดูฝนที ่ https://soundcloud.com/ prdpc9/cbo7hzkfwyra
Download ประกาศกรมควบคุมโรค เตือนภัยโรคจากฤดูฝนที่http:// dpc9.ddc.moph.go.th/crd/ tranfers/guideline/2556/ 2556_06_06_rain.pdf
ข่าวที่เกี่ยวข้อง “ สคร.9 เตือนน้ำหลาก ประชาชนควรเน้นย้ำสิบบัญญัต ิสกัดโรคที่มากับน้ำท่วม “ ที่https://www.facebook.com/ media/set/ ?set=a.492325610856343.1073 741951.162933320462242&typ e=1
สาเหตุสำคัญมาจาก โรคอาหารเป็นพิษ ที่เป็นโรคติดต่อทางอาหารแล
ส่วนใหญ่แล้วภาวะอาหารเป็นพ
ผู้ที่มีอาการถ่ายเหลวเป็นเ
จึงขอแนะนำง่าย ๆ 10 ประการ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในการป้
1) เลือกอาหารที่ผ่านกระบวนการ
2) ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึงก่อน
3) รับประทานอาหารที่ปรุงสุกให
4) หากมีความจำเป็นต้องเก็บอาห
5) ก่อนที่จะนำอาหารมารับประทา
6) ไม่นำอาหารที่ปรุงสุกแล้วมา
7) ล้างมือให้สะอาด ไม่ว่าจะเป็นก่อนการปรุงอาห
8) ดูแลความสะอาดของพื้นที่สำห
9) เก็บอาหารให้ปลอดภัยจากแมลง
10) ใช้น้ำสะอาดในการปรุงอาหาร และควรระวังเป็นพิเศษในการใ
เภสัชกรเชิดเกียรติ กล่าวทิ้งท้ายว่าขอให้ประชา
ข้อความหลัก " กินอาหารร้อน สุก สะอาด ปราศจากพิษ ล้างมือเป็นนิจ ป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ ชีวิตปลอดภัย ”
ดู Clip VDO คำแนะนำการทำน้ำเกลือแร่จาก
เฉพาะกิจเกาะติดการสื่อสารค
ฟังเพลงรณรงค์โรคจากฤดูฝนที
Download ประกาศกรมควบคุมโรค เตือนภัยโรคจากฤดูฝนที่http://
ข่าวที่เกี่ยวข้อง “ สคร.9 เตือนน้ำหลาก ประชาชนควรเน้นย้ำสิบบัญญัต
ข่าวนี้สนับสนุนยุทธศาสตร์ท ี่ 3 กรมควบคุมโรค : การสื่อสารสาธารณะและประชาส ัมพันธ์อย่างทั่วถึงและได้ผ ล เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภั ยสุขภาพ
รายละเอียดภาพข่าวนี้ https://www.facebook.com/media/set/?set=a.522714531150784.1073742007.162933320462242&type=1
รหัสข่าว 003041056.3
จิดาภา รอดอยู่ / เผยแพร่
เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ/ ตรวจทาน
โดย…กลุ่มสื่อสารความเสี่ยง และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สำนักงานป้องควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
กรมควบคุมโรค รู้ก่อน รู้ทัน ป้องกันได้
โทร 0-5521-4615 -7 ต่อ 333 หรือ 334 โทรสาร 0-5532-1238
Email : dpc9phs@yahoo.com
ดูข่าวสุขภาพใหม่ ๆ ตลอดเวลาได้ที่ http:// dpc9.ddc.moph.go.th/crd
รายละเอียดภาพข่าวนี้ https://www.facebook.com/media/set/?set=a.522714531150784.1073742007.162933320462242&type=1
รหัสข่าว 003041056.3
จิดาภา รอดอยู่ / เผยแพร่
เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ/ ตรวจทาน
โดย…กลุ่มสื่อสารความเสี่ยง
สำนักงานป้องควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
กรมควบคุมโรค รู้ก่อน รู้ทัน ป้องกันได้
โทร 0-5521-4615 -7 ต่อ 333 หรือ 334 โทรสาร 0-5532-1238
Email : dpc9phs@yahoo.com
ดูข่าวสุขภาพใหม่ ๆ ตลอดเวลาได้ที่ http://
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น