เภสัชกรเชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ หัวหน้ากลุ่มสื่อสารความเสี ่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที ่ 9 พิษณุโลก (สคร.9) กรมควบคุมโรค เผยรายงานจากองค์การอนามัยโ ลก พบผู้ป่วยโรคเบาหวานทั่วโลก 371 ล้านคน และประมาณ 280 ล้านคน เป็นผู้ที่มีความเสี่ยงต่อโ รคเบาหวาน คาดว่าปี พ.ศ.2573 หากไม่มีการดำเนินการในการป ้องกันและควบคุมที่มีประสิท ธิภาพจะมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน ถึง 500 ล้านคน
สำหรับประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขคาดประมาณผ ู้เป็นโรคเบาหวานในปัจจุบัน ว่ามีมากถึง 3.5 ล้านคน ในจำนวนนี้มี 1 ใน 3 ที่ไม่รู้ตนเองว่าเป็นโรคนี ้ มีผู้ที่เข้ารับการรักษาอย่ างต่อเนื่องแค่ 2.22 ล้านคน แต่ในจำนวนนี้มีเพียง 9.62 แสนคนเท่านั้น ที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดได้ ส่วนที่ควบคุมน้ำตาลในเลือด ได้ไม่ดีมีมากกว่า 2.5 ล้านคน สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้พยากรณ์ว่าไทยมีผู้ป่วยเ บาหวานรายใหม่เกิดขึ้นมากกว ่า 5 แสนคนต่อปี และในปี 2555 พบว่าในประชาชนทั่วไป 95 ราย จะมีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 1 ราย และมีผู้เสียชีวิตจากโรคเบา หวานทั้งหมด 7,749 ราย หรือเฉลี่ยวันละ 22 คน
โรคเบาหวาน เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน ้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ (คนปกติก่อนรับประทานอาหารเ ช้าจะมีระดับน้ำตาลในเลือดป ระมาณ 70-110 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ หลังรับประทานอาหารแล้ว 2 ชั่วโมง ระดับน้ำตาลไม่เกิน 140 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) เป็นโรคที่เกิดจากปริมาณของ ฮอร์โมนอินซูลินที่หลั่งออก มาจากต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อน ไม่สมดุลกับอาหารแป้งและน้ำ ตาลที่รับประทานเข้าไป เป็นความผิดปกติของร่างกายท ี่ไม่สามารถนำน้ำตาลในร่างก ายไปใช้ได้อย่างเต็มที่ สาเหตุส่วนใหญ่ร้อยละ 90 - 95 คือร่างกายไม่สามารถใช้ฮอร์ โมนอินซูลินที่ผลิตมาได้อย่ างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีภาวะดื้อต่อฮอร์ โมนอินซูลิน
รองลงมาอีกร้อยละ 5 - 10 สาเหตุเนื่องจากร่างการมีกา รผลิตฮอร์โมนอินซูลินน้อยมา ก หรือขาดฮอร์โมนอินซูลินโดนส ิ้นเชิง 2 ประเภทนี้ทำให้น้ำตาลในเลือ ดสูงขึ้นอยู่เป็นเวลานาน เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้ อนต่อ เท้า ไต ตา ระบบประสาท หัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และมีโอกาสที่จะเสียชีวิตก่ อนวัยอันควรได้ ส่วนเบาหวานชนิดอื่นๆ ที่อาจพบได้น้อย ได้แก่ เบาหวานที่เกิดในขณะตั้งครร ภ์ หรือเบาหวานที่เกิดจากสาเหต ุเฉพาะเจาะจง เช่น ความบกพร่องทางพันธุกรรม โรคของตับอ่อน ความผิดปกติของฮอร์โมน เป็นต้น
สัญญาณเตือนและอาการเริ่มต้ นของโรคเบาหวาน เช่น ช่วงกลางคืนปัสสาวะบ่อยมากก ว่าปกติและอาจจะพบว่ามีมดตอ ม หิวน้ำบ่อยทำให้ต้องดื่มน้ำ มากผิดปกติ กินเก่ง หิวเก่ง แต่น้ำหนักลดลงอย่างรวดเร็ว รู้สึกอ่อนเพลียไม่มีแรง คันตามผิวหนัง และมีรอยดำรอบคอหรือใต้รักแ ร้ การติดเชื้อราโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งบริเวณช่องคลอดของผู้หญ ิง เห็นภาพไม่ชัด ตาพร่ามัว ต้องเปลี่ยนแว่นบ่อย เจ็บตามแขนขา ชาไม่มีความรู้สึกเกิดแผลที ่เท้าได้ง่าย เพราะไม่รู้สึก หย่อนสมรรถภาพทางเพศ แผลหายช้า
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเ บาหวาน คือ กรรมพันธุ์ประวัติครอบครัวพ ่อแม่ พี่ หรือ น้อง เป็นเบาหวาน อายุมากขึ้นกว่า 45 ปี ผู้ที่อ้วนน้ำหนักเกินร้อยล ะ 20 ของน้ำหนักที่ควรเป็น ความดันโลหิตสูงมากกว่า 140/ 90 ระดับไขมันเอชดีแอลในเลือดน้อยกว ่า 35 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ และหรือไตรกลีเซอไรด์ มากกว่า 250 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ ผู้ที่เบาหวานขณะตั้งครรภ์ห รือน้ำหนักเด็กแรกคลอดมากกว ่า 4 กิโลกรัม ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย
การป้องกันการเกิดโรคเบาหวา นและป้องกันการเกิดภาวะแทรก ซ้อนจากโรคเบาหวาน คือ
1). เลือกรับประทานอาหารที่มีคว ามหลากหลายให้ครบ 5 หมู่ เพื่อให้เกิดความสมดุลของสา รอาหารที่ร่างกายต้องการ ชิมก่อนเติมเครื่องปรุง เลือกอาหารที่รสไม่จัด ลดอาหารที่มีรสหวาน เช่น ขนมหวานและขนมกรุบกรอบ และน้ำอัดลม ลดอาหารเค็ม มัน เช่น ของทอด ของมัน ขาหมู หมูสามชั้น อาหารหรือขนมที่ใส่กะทิ ปรุงอาหารด้วยวิธีต้ม ตุ๋น นึ่ง อบ ยำ และผัดที่ไม่มัน แทนการทอด อาหารฟาส์ตฟู้ด เพิ่มการกินผักและผลไม้ที่ร สไม่หวาน เช่น ส้ม กล้วย แอปเปิ้ล
2). เลิกสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยง ควันบุหรี่จากผู้อื่น ลดหรือเลิกการดื่มแอลกอฮอล์
3). ออกกำลังกายสม่ำเสมออย่างน้ อยวันละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ เดินให้มากขึ้น เคลื่อนไหวร่างกายให้กระฉับ กระเฉง
4). ควบคุมให้น้ำหนักตัวที่เหมา ะสม รอบเอวชายไม่เกิน 90 เซนติเมตร หญิงไม่เกิน 80 เซนติเมตร
5). ควบคุมไม่ให้ความดันโลหิตสู งมากกว่า 140/90
6). ในผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ควรรับไปรับการตรวจสุขภาพสม ่ำเสมอปีละ 1 ครั้ง
7). ดูแลจิตใจและอารมณ์ ทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลายความเคียด ควบคุมอารมณ์
เภสัชกรเชิดเกียรติ กล่าวต่อว่า โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังไ ม่สามารถรักษาให้หายขาด แต่สามารถควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดและปัสสาวะให้เป็นปก ติได้ ผู้ป่วยสามารถมีชีวิตอย่างเ ป็นปกติสุขได้ แต่ต้องให้ร่วมมือกับแพทย์ใ นการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมสุขภาพตนเองเพื่อทำ ให้การเจ็บป่วยจากโรคอื่นน้ อยลง ส่งผลให้ร่างกายคงอยู่ในสภา พที่แข็งแรง ได้นานเท่าคนปกติได้
“ กินอาหารควบคุม ออกกำลังกายทุกวัน ตรวจน้ำตาลทุก 3 ปี พิทักษ์อนาคตไทย พ้นภัยเบาหวาน“
ฟังเพลงรณรงค์เบาหวานที่ https://soundcloud.com/ prdpc9/jvauyh0jkrzv
ดู Clip VDO สปอตสั้นสู้โรค " โรคเบาหวาน" ที่http://www.youtube.com/ watch?v=PGmQJaVp6eg
ข่าวที่เกี่ยวข้อง “ สคร.9 เผยคนไทยตายด้วยโรคหัวใจและ หลอดเลือดพุ่ง 3 หมื่นต่อปี แนะแนวทางเพื่อหัวใจที่แข็ง แรง “ ที่ https://www.facebook.com/ media/set/ ?set=a.520150258073878.1073 742001.162933320462242&typ e=1
สำหรับประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขคาดประมาณผ
โรคเบาหวาน เป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน
รองลงมาอีกร้อยละ 5 - 10 สาเหตุเนื่องจากร่างการมีกา
สัญญาณเตือนและอาการเริ่มต้
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเ
การป้องกันการเกิดโรคเบาหวา
1). เลือกรับประทานอาหารที่มีคว
2). เลิกสูบบุหรี่และหลีกเลี่ยง
3). ออกกำลังกายสม่ำเสมออย่างน้
4). ควบคุมให้น้ำหนักตัวที่เหมา
5). ควบคุมไม่ให้ความดันโลหิตสู
6). ในผู้ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ควรรับไปรับการตรวจสุขภาพสม
7). ดูแลจิตใจและอารมณ์ ทำจิตใจให้สบาย ผ่อนคลายความเคียด ควบคุมอารมณ์
เภสัชกรเชิดเกียรติ กล่าวต่อว่า โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังไ
“ กินอาหารควบคุม ออกกำลังกายทุกวัน ตรวจน้ำตาลทุก 3 ปี พิทักษ์อนาคตไทย พ้นภัยเบาหวาน“
ฟังเพลงรณรงค์เบาหวานที่ https://soundcloud.com/
ดู Clip VDO สปอตสั้นสู้โรค " โรคเบาหวาน" ที่http://www.youtube.com/
ข่าวที่เกี่ยวข้อง “ สคร.9 เผยคนไทยตายด้วยโรคหัวใจและ
ข่าวนี้สนับสนุนยุทธศาสตร์ท ี่ 3 กรมควบคุมโรค : การสื่อสารสาธารณะและประชาส ัมพันธ์อย่างทั่วถึงและได้ผ ล เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภั ยสุขภาพ
รายละเอียดภาพข่าวนี้ https://www.facebook.com/media/set/?set=a.537305576358346.1073742025.162933320462242&type=1
รหัสข่าว 022051156.3
จิดาภา รอดอยู่ / เผยแพร่
เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ/ ตรวจทาน
โดย…กลุ่มสื่อสารความเสี่ยง และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
สำนักงานป้องควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
กรมควบคุมโรค รู้ก่อน รู้ทัน ป้องกันได้
โทร 0-5521-4615 -7 ต่อ 333 หรือ 334
โทรสาร 0-5532-1238
Email : dpc9phs@yahoo.com
ดูข่าวสุขภาพใหม่ ๆ ที่ http:// dpc9.ddc.moph.go.th/crd
รายละเอียดภาพข่าวนี้ https://www.facebook.com/media/set/?set=a.537305576358346.1073742025.162933320462242&type=1
รหัสข่าว 022051156.3
จิดาภา รอดอยู่ / เผยแพร่
เชิดเกียรติ แกล้วกสิกิจ/ ตรวจทาน
โดย…กลุ่มสื่อสารความเสี่ยง
สำนักงานป้องควบคุมโรคที่ 9 พิษณุโลก
กรมควบคุมโรค รู้ก่อน รู้ทัน ป้องกันได้
โทร 0-5521-4615 -7 ต่อ 333 หรือ 334
โทรสาร 0-5532-1238
Email : dpc9phs@yahoo.com
ดูข่าวสุขภาพใหม่ ๆ ที่ http://
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น